จดทะเบียนท่องเที่ยวอุบลราชธานี โทร : 094-493-1414
อุบลราชธานี เป็นจังหวัดขนาดใหญ่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันออกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือและของประเทศไทย ทั้งยังเป็นตำบลที่ตั้งของเส้นเวลาหลักของประเทศ ที่เส้นแวง 105 องศาตะวันออก โดยเป็นจังหวัดแรกที่ได้เห็นดวงอาทิตย์ก่อนพื้นที่อื่น ๆ ทั่วประเทศ
จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือจังหวัดยโสธรในปี พ.ศ. 2515 และจังหวัดอำนาจเจริญในปี พ.ศ. 2536 ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย
- คำขวัญประจำจังหวัด : อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่นำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล
- ตราประจำจังหวัด : รูปดอกบัวบานชูช่อพ้นน้ำ
- ต้นไม้ประจำจังหวัด : ต้นยางนา (Dipterocarpus alatus)
- ดอกไม้ประจำจังหวัด : ดอกบัว
- สัตว์น้ำประจำจังหวัด : ปลาเทโพหรือปลาปึ่ง (Pangasius larnaudii)
จดทะเบียนบริษัททัวร์ จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว
หลักการจดทะเบียนบริษัททัวร์ ท่องเที่ยว หลังจากจดทะเบียนบริษัทเรียบร้อย โดยห้ามใส่คำว่า ทัวร์ /Travel ก่อนขอใบอนุญาติ ททท.
กระทรวงพาณิชย์ โดยกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ออกระเบียบให้ห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัดที่จะประกอบธุรกิจ "นำเที่ยว" ต้องได้รับอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยวก่อน แล้วจึงนำหลักฐานมายื่นขอจดทะเบียนเพิ่มเติมวัตถุประสงค์ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า หากไม่มีใบอนุญาตหมดสิทธิ์ประกอบธุรกิจบังคับใช้แล้ว 1 ก.ค. 58
นางสาวผ่องพรรณ เจียรวิริยะพันธ์ อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากแหล่งท่องเที่ยวหลายพื้นที่ของไทยมักประสบปัญหาชาวต่างชาติเข้ามาประกอบกิจการท่องเที่ยวแต่แอบอ้าง หรือใช้ชื่อคนไทยจดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจ โดยมีการร้องเรียนผ่านหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อให้เร่งหาแนวทางป้องกันและแก้ไขอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของการท่องเที่ยวไทยเป็นอย่างมาก กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กับกรมการท่องเที่ยว และ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2557 เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง โดยให้ความสำคัญตั้งแต่ขั้นตอนการเริ่มต้นธุรกิจ การอนุญาตให้ประกอบธุรกิจ และการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้แต่ละหน่วยงานใช้เป็นฐานข้อมูลในการตรวจสอบ กำกับดูแล ตลอดจนสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวของไทยให้มีความน่าเชื่อถือเข้มแข็งและยั่งยืน
"เพื่อให้เป็นไปตามข้อตกลงที่ทั้ง 3 หน่วยงานได้ร่วมกันกำหนดขึ้น กรมพัฒนาธุรกิจการค้าจึงกำหนดหลักเกณฑ์การจัดตั้งธุรกิจนำเที่ยวให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เพื่อป้องปรามปัญหานอมินีและสกัดกั้นผู้ที่ไม่หวังดีในการประกอบธุรกิจนำเที่ยวของไทย โดยออกระเบียบสำนักงานทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทกลางว่าด้วยการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนและบริษัท (ฉบับที่ 11) พ.ศ. 2558 ซึ่งกำหนดให้ผู้ประกอบธุรกิจที่ประสงค์จะจดทะเบียนจัดตั้ง "ธุรกิจนำเที่ยวต้องได้รับอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยว” ก่อน โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1) ผู้ประกอบธุรกิจยื่นขอจดทะเบียนจัดตั้งนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงค์ทั่วไปๆ ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 2) นำหนังสือรับรองนิติบุคคลที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าออกให้ไปยื่นขอความเห็นชอบประกอบธุรกิจนำเที่ยวจากกรมการท่องเที่ยว 3) นำหลักฐานใบอนุญาตจากกรมการท่องเที่ยวมายื่นจดทะเบียนเพิ่มวัตถุประสงค์ "นำเที่ยว” ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า 4) ดำเนินธุรกิจนำเที่ยวได้ถูกต้องตามกฎหมาย”
อธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ากล่าวเพิ่มเติมว่า เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จะร่วมกับกรมการท่องเที่ยว และ DSI ลงพื้นที่ตรวจสอบแหล่งท่องเที่ยวทั่วประเทศเป็นระยะ ๆ หากพบธุรกิจรายใดเข้าข่ายกระทำความผิดตามกฎหมายจะลงโทษอย่างเด็ดขาด เพื่อไม่ให้เป็นเยี่ยงอย่าง และขอแนะนำผู้ที่จะใช้บริการ หรือจำเป็นต้องติดต่อทำธุรกรรมกับธุรกิจนำเที่ยวทุกราย ควรตรวจสอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลจากหนังสือรับรองที่กรมพัฒนาธุรกิจการค้าออกให้โดยตรวจสอบได้ 3 ช่องทาง 1) สายด่วน 1570 2) www.dbd.go.th (คลังข้อมูลธุรกิจ) และ3) ดาวน์โหลด Application ‘DBD e- Service’ และต้องตรวจสอบว่ามีใบอนุญาตการประกอบธุรกิจนำเที่ยวจากกรมการท่องเที่ยวหรือไม่ เพื่อป้องกันปัญหาทัวร์ต้มตุ๋น หลอกลวง
ขออนุญาติธุรกิจท่องเที่ยว ขออนุญาตธุรกิจทัวร์ จดทะเบียนบริษัททัวร์ จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว รับจดทะเบียนบริษัทอุบลราชธานีู จดทะเบียนบริษัทอุบลราชธานีู รับจดทะเบียนบริษัทจังหวัดอุบลราชธานีู จดทะเบียนบริษัทจังหวัดอุบลราชธานีู จดทะเบียนห้างหุ้นส่วนอุบลราชธานีู รับทำบัญชีอุบลราชธานีู ทำบัญชีอุบลราชธานีู รับวางระบบบัญชีอุบลราชธานีู วางระบบบัญชีอุบลราชธานีู รับตรวจสอบบัญชีอุบลราชธานีู ตรวจสอบบัญชีอุบลราชธานีู จังหวัดอุบลราชธานีู อำเภอเมืองอุบลราชธานี ศรีเมืองใหม่ โขงเจียม เขื่องใน เขมราฐ เดชอุดม นาจะหลวย น้ำยืน บุณฑริก ตระการพืชผล กุดข้าวปุ้น ม่วงสามสิบ วารินชำราบ พิบูลมังสาหาร ตาลสุม โพธิ์ไทร สำโรง ดอนมดแดง สิรินธร ทุ่งศรีอุดม นาเยีย นาตาล เหล่าเสือโก้ก สว่างวีระวงศ์ น้ำขุ่น
โปรโมชั่น จดทะเบียนบริษัทกับเราวันนี้
โปรโมชั่น สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่
พิเศษ !!! สำหรับลูกค้าจดทะเบียนใหม่
ส่วนลดพิเศษ!! จัดทำเว็บไซต์จาก ปกติ 12,000 บาท เหลือเพียง 5,000 บาท
ฟรี !!! ระบบอีเมล์ภายใต้ชื่อโดเมนเนม
โปรโมชั่น ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี
พิเศษ !!! ลูกค้าจดทะเบียนใหม่และทำบัญชี
เว็บไซต์ ราคาพิเศษ 3,500 สำหรับบริษัทพร้อมแนะนำการทำตลาดออนไลน์
ฟรี ออกแบบโลโก้บรษัท
ฟรี รูปแบบใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ ใบกำกับภาษี ใบเสร็จรับเงินและเอกสารสำคัญอื่นๆ
ฟรี ขึ้นทะเบียน ระบบ E-FILING เพื่อใช้นำส่งงบการเงินกับกระทรวงพาณิชย์
ฟรี จดทะเบียน ภ.อ.01 เพื่อใช้ยื่นภาษีผ่าระบบออนไลน์
ฟรี จัดเตรียมเอกสารขึ้นทะเบียน E-GP (ระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ)
ฟรี ที่ปรึกษาด้านการตลาดและบริหารธุรกิจ
การจดทะเบียนธุรกิจ ประเภทต่างๆ ต้องเลือกให้เหมาะสมกับกิจการที่เราจะทำ จำเป็นจะต้องพิจารณาให้ละเอียด เพื่อการเริ่มต้นที่ดี
คำถามที่พบบ่อย ?
ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด ร้านค้าจดทะเบียนบริษัทที่ไหน? จดบริษัทจะต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง? จดบริษัทต้องใช้ผู้ก่อตั้งกี่คน? จดบริษัทต้องมีทุนจดทะเบียนเท่าไหร่? ภาษีมูลค่าเพิ่มคืออะไร บริษัทต้องเสียภาษีอะไรบ้าง? บริษัทจดคนเดียวได้ไหม? บริษัทสามารถใส่วัตถุประสงค์ได้กี่ข้อ? จะรับงานราชการต้องจดทะเบียนแบบไหน? บริษัทจะต้องขึ้นประกันสังคมหรือไม่? ต้องมีลูกจ้างกี่คนถึงจะขึ้นประกันสังคม? จะเริ่มทำบัญชียังไง? ลูกค้าให้จดเป็นนิติบุคคล จะจดแบบไหนดี? มีชาวต่างชาติถือหุ้นด้วยจะจดบริษัทได้ไหม? การตั้งชื่อบริษัทควรจะตั้งอย่างไร? ถ้าเปิดบริษัทแต่ยังไม่มีรายได้ต้องเสียค่าทำบัญชีไหม ต้องปิดงบการเงินหรือไม่? ถ้ามีชื่อในบริษัทอื่นแล้ว จะตั้งบริษัทใหม่ได้ไหม? ทำบิล ทำใบกำกับภาษี ไม่เป็น จะทำยังไง? กรรมการบริษัท คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร? ผู้ถือหุ้น คืออะไร มีหน้าที่อย่างไร ? จะเปิดบัญชีกับธนาคาร ในนามบริษัทต้องทำอย่างไร? ที่ตั้งบริษัท ใช้บ้านที่ต่างจังหวัดได้หรือไม่?……..
โทรหาเรา เพื่อขอรับคำปรึกษา โทร : 083-622-5555
จดทะเบียนบริษัท รับจดทะเบียนบริษัท
ให้บริการด้านการจัดตั้งธุรกิจ รับจดทะเบียนบริษัททุกประเภท ทั่วไทย รับเป็นที่ปรึกษาด้านบัญชี ภาษี ตรวจสอบภายใน เขียนแผนธุรกิจ การตลาด สื่อโฆษณา การเงิน แรงงาน กฎหมาย ด้วยทีมงานที่มีประสบการณ์พร้อมด้วยบริการอย่างมีประสิทธิภาพ ราคาเป็นธรรมและซื่อสัตย์ตรงไปตรงมา
ประวัติศาสตร์
พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (เจ้าคำผง) ดำรงฐานะ เจ้าประเทศราช เป็นผู้ก่อตั้งเมืองอุบลราชธานี เจ้าคำผงเป็นโอรสของพระเจ้าตาและเจ้านางบุศดี (เชื้อสายราชวงศ์เชียงรุ้ง สิบสองปันนา) สมภพเมื่อปี พ.ศ. 2252 ที่นครเวียงจันทน์ เสกสมรสกับเจ้านางตุ่ยธิดาเจ้าอุปราช (ธรรมเทโว) พระอนุชาของพระเจ้าองค์หลวง (ไชยกุมาร) เจ้านครจำปาศักดิ์ ได้รับแต่งตั้งเป็น พระประทุมสุรราช เมื่อปี พ.ศ. 2323 อันเป็นตำแหน่งนายกกองใหญ่คุมเลก (ไพร่) อยู่ที่บ้านดู่ บ้านแก ขึ้นกับนครจำปาศักดิ์ ปี พ.ศ. 2329 ได้ย้ายครอบครัวและไพร่พลจากบ้านดู่ บ้านแก มาตั้งบ้านเมืองใหม่ที่ตำบล ห้วยแจระแม โดยพระบรมราชาอนุญาตในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก และตั้งชื่อ เมืองนี้ว่า "เมืองอุบล" จากการร่วมปราบกบฏอ้ายเชียงแก้วในปี พ.ศ. 2334 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก จึงโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งพระประทุมสุรราช (เจ้าคำผง) เป็นพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ และยกฐานะเมืองอุบลเป็น “เมืองอุบลราชธานีศรีวะนาไล ประเทษราช" เมื่อวันจันทร์ แรม 13 ค่ำ เดือน 8 จุลศักราช 1151 ตรงกับปี พ.ศ. 2335 พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ได้สร้างวัดหลวงเป็นวัดคู่เมืองขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำมูล ซึ่งถือเป็นวัดแรกของเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนนี้ พ.ศ. 2338 พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ได้ถึงแก่พิราลัยเมื่อวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 12 ปีเถาะ จุลศักราช1157 รวมอายุได้ 86 ปี ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองอุบลราชธานีศรีวะนาไล ประเทษราช อยู่ 3 ปี
เมื่อปีพุทธศักราช 2228 เกิด วิกฤติทางการเมืองในนครเชียงรุ้ง เพราะกลุ่มจีนฮ่อธงขาวยกกำลังปล้น เมืองเจ้านครเชียงรุ้งคือ เจ้าอินทกุมาร เจ้านางจันทกุมารี และเจ้าปางคำ ได้อพยพไพร่พลมาขอพึ่งบารมีพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราชของเวียงจันทน์ จึงโปรดให้นำไพร่พลไปตั้งเมืองที่หนองบัวลุ่มภู (ปัจจุบันเป็นจังหวัดหนองบัวลำภู) โดยตั้งชื่อเมืองว่า "นครเขื่อนขันธ์ กาบแก้วบัวบาน"
ต่อมาพระเจ้าสุริยวงศาธรรมิกราช ให้เจ้าปางคำเสกสมรสกับพระราชนัดดามีโอรส คือ เจ้าพระตา เจ้าพระวอซึ่งมีความสำคัญต่อเมืองอุบลราชธานีอย่างยิ่ง เพราะต่อมา ปีพุทธศักราช 2314 เกิดสงครามแย่งชิงอำนาจระหว่างเวียงจันทน์กับเมืองหนองบัวลุ่มภู โดยพระเจ้าสิริบุญสาร พระเจ้าแผ่นดินอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ ขอบุตรธิดาของเจ้าพระตา เจ้าพระวอ ไปเป็นนางห้ามและนางสนม แต่เจ้าพระตา เจ้าพระวอ ไม่ยอมยกให้ ทำให้พระเจ้าจ้าสิริบุญสาร ส่งกองทัพมาตีเมืองหนองบัวลุ่มภู เจ้าพระตา เจ้าพระวอ ยกกองทัพออกต่อสู้ จนกองทัพเวียงจันทน์ต้องพ่ายกลับไปหลายครั้ง
สงครามระหว่างเวียงจันทน์กับเมืองหนองบัวลุ่มภู ต่อสู้กินเวลายาวนานถึง 3 ปี ไม่มีผลแพ้ชนะกัน พระเจ้าสิริบุญสารได้ส่งทูตไปขอกองทัพพม่าที่เมืองนคร เชียงใหม่ ให้มาช่วยตีเมืองหนองบัวลุ่มภู โดยมีเงื่อนไขเวียงจันทน์ยอมเป็นเมืองขึ้นของพม่า กองทัพพม่าที่เมืองเชียงใหม่ จึงให้ม่องระแง คุมกองทัพมาช่วยเจ้าสิริบุญสารรบ เมื่อฝ่ายเจ้าพระตาทราบข่าวศึก คะเนคงเหลือกำลังที่จะต้านศึกกองทัพใหญ่กว่าไว้ได้ จึงให้เจ้าคำโส เจ้าคำขุย เจ้าก่ำ เจ้าคำสิงห์ พาไพร่พล คนชรา เด็ก ผู้หญิง พร้อมพระสงฆ์ อพยพมุ่งหน้าไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อหาที่สร้างบ้านแปลงเมืองใหม่ไว้รอท่า หากแพ้สงครามจะได้อพยพติดตามมาอยู่ด้วย
โดยแรกได้มาตั้งเมืองที่บ้านสิงห์โคก บ้านสิงห์ท่า (ปัจจุบันคือจังหวัดยโสธร) และการสู้รบในครั้งสุดท้าย เจ้าพระตาถึงแก่ความตายในสนามรบ เจ้าพระวอผู้เป็นบุตรชายคนโต พร้อมด้วยพี่น้องคือ นางอุสา นางสีดา นางแสนสีชาด นางแพงแสน เจ้าคำผง เจ้าทิตพรหม และนางเหมือนตา ได้หลบหนีออกจากเมืองมารับเสบียงอาหารจากบ้านสิงห์โคก สิงห์ท่า แล้วผ่านลงไปตั้งเมืองที่ "ดอนมดแดง" พร้อมขอพึ่งพระเจ้าองค์หลวงไชยกุมาร แห่งนครจำปาศักดิ์ ฝ่ายเจ้าสิริบุญสารทราบข่าวการตั้งเมืองใหม่ จึงให้อัคฮาดหำทอง และพญาสุโพ ยกกองทัพมาตีเจ้าพระวอสู้ไม่ได้ และเสียชีวิตในสนามรบ เจ้าคำผงผู้น้องจึงขึ้นเป็นหัวหน้ากลุ่ม พร้อมมีใบบอกลงไปที่เมืองนครราชสีมา และกรุงธนบุรี เพื่อขอพึ่งบารมีพระเจ้ากรุงธนบุรี ซึ่งให้ เจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) และเจ้าพระยาสุรสีห์ (บุญมา) ยกกองทัพมาช่วยเจ้าคำผง ด้านพญาสุโพรู้ข่าวศึกของเจ้ากรุงธนบุรี จึงสั่งถอยทัพกลับเวียงจันทน์ แต่เจ้าพระยาจักรีและเจ้าพระยาสุรสีห์ ได้เดินทัพติดตามทัพเวียงจันทน์ จนสามารถเข้ายึดเมืองได้สำเร็จ จึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกต พร้อมคุมตัวเจ้าสิริบุญสารไปกรุงธนบุรี ส่วนเจ้าคำผงหลังเสร็จศึกได้กลับไปตั้งเมืองอยู่ที่ดอนมดแดงเหมือนเดิม กระทั่งปีพุทธศักราช 2319 เกิดน้ำท่วมใหญ่ เจ้าคำผงจึงอพยพไพร่พลไปอยู่ที่ดอนห้วยแจระแม (ปัจจุบัน คือบ้านท่าบ่อ) รอจนน้ำลด แล้วจึงหาทำเลที่ตั้งเมืองใหม่ที่ที่ตำบลบ้านร้าง เรียกว่า ดงอู่ผึ้งริมฝั่งแม่น้ำมูลอันเป็นที่ตั้งของจังหวัดอุบลราชธานีในปัจจุบัน เมื่อปีพุทธศักราช 2320 พร้อมกับได้สร้างพระอารามหลวงขึ้นเป็นวัดแรก
ต่อมาปีพุทธศักราช 2322 พระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาราชสุภาวดี เชิญท้องตราขึ้นมาตั้งเป็นเมืองอุบลราชธานี พร้อมให้เจ้าคำผงเป็นเจ้าเมืองในราชทินนาม "พระประทุมราชวงศา" เจ้าทิตพรหมเป็นพระอุปฮาด เจ้าก่ำเป็นราชวงศ์ เจ้าสุดตาเป็นราชบุตร โดยเป็นคณะอาญาสี่ชุดแรกของเมืองอุบลราชธานี จนถึงกาลเปลี่ยนแผ่นดินปีพุทธศักราช 2334 สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เกิดขบถอ้ายเชียงแก้วเขาโอง ยกกำลังมาตีเมืองนครจำปาศักดิ์ เจ้าฝ่ายหน้าผู้น้องพระประทุมราชวงศาได้ยกกำลังไปรบ สามารถจับอ้ายเชียงแก้วได้ และทำการประหารชีวิตที่บริเวณแก่งตะนะ
ในปีถัดมาพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเมืองอุบลขึ้นเป็นเมืองประเทศราช แต่งตั้งให้พระประทุมราชวงศาเป็นพระประทุมวรราชสุริยวงศ์ (คำผง) เจ้าครองเมือง เมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยประเทศราช พระราชทานพระสุพรรณบัตร และเครื่องยศเจ้าเมืองประเทศราช พร้อมทำพิธีสบถสาบานถือน้ำพิพัฒน์สัตยา เมื่อวันจันทร์ เดือน 8 แรม 13 ค่ำ จุลศักราช 1154 ปีชวด จัตวาศก ตรงกับวันที่ 16 กรกฎาคม 2335 โดยเป็นเจ้าเมืองคนแรกของอุบลราชธานี ถึงปี 2338 พระพรหมวรราชสุริยวงศ์ (ทิดพรหม) น้องชายเจ้าพระประทุม จึงได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนต่อมา รวมมีเจ้าเมืองอุบลราชธานี ที่พระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯแต่งตั้งทั้งสิ้น 4 ท่าน
ภายหลังการก่อตั้งเมืองอุบลฯ แล้ว ก็ได้มีการตั้งเมืองสำคัญในเขตปกครองของจังหวัดอุบลราชธานีขึ้นอีกหลายเมือง เช่น ปี พ.ศ. 2357 โปรดฯให้ตั้งบ้านโคกพเนียง เป็นเมืองเขมราฐธานี
ปี พ.ศ. 2366 ยกบ้านนาคอขึ้นเป็นเมืองโขงเจียง (โขงเจียม) โดยขึ้นกับนครจำปาศักดิ์
ปี พ.ศ. 2388 ในรัชกาลที่ 3 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ยกบ้านช่องนางให้เป็นเมืองเสนางคนิคม ยกบ้านน้ำโดมใหญ่ขึ้นเป็นเมืองเดชอุดม ให้หลวงอภัยเป็นหลวงยกบัตรหลวงมหาดไทยเป็นหลวงปลัด ตั้งหลวงธิเบศร์เป็นพระศรีสุระ เป็นเจ้าเมือง รักษาราชการแขวงเมืองเดชอุดม
ปี พ.ศ. 2390 ตั้งบ้านดงกระชุหรือบ้านไร่ ขึ้นเป็นเมืองบัวกัน ต่อมาได้เปลี่ยนมาเป็นเมืองบัวบุณฑริก หรืออำเภอบุณฑริกในปัจจุบัน
ปี พ.ศ. 2401 ตั้งบ้านค้อใหญ่ ให้เป็นเมือง ขอตั้งท้าวจันทบรม เป็นพระอมรอำนาจ เป็นเจ้าเมือง ตั้งท้าวบุตตะเป็นอุปฮาด ให้ท้าวสิงหราชเป็นราชวงศ์ ท้าวสุริโยเป็นราชบุตร รักษาราชการเมืองอำนาจเจริญขึ้นกับเมืองเขมราฐ
ปี พ.ศ. 2406 ในรัชกาลที่ 4 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านกว้างลำชะโด ตำบลปากมูล เป็นเมืองพิบูลมังสาหารและให้ตั้งบ้านสะพือ เป็นเมืองตระการพืชผล ตั้งท้าวสุริยวงษ์ เป็นพระอมรดลใจ เป็นเจ้าเมือง
ปี พ.ศ. 2422 ในรัชกาลที่ 5 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านท่ายักขุเป็นเมืองชานุมานมณฑล และให้ตั้งบ้านเผลา (บ้านพระเหลา) เป็นเมืองพนานิคม
ปี พ.ศ. 2423 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านนากอนจอ เป็นเมืองวารินชำราบ
ปี พ.ศ. 2424 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านจันลานาโดม เป็นเมืองโดมประดิษฐ์ (ปัจจุบันเป็นหมู่บ้านที่อำเภอน้ำยืน)
ปี พ.ศ. 2425 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านทีเป็นเมืองเกษมสีมา ซึ่งต่อมาเปลี่ยนเป็นอำเภอม่วงสามสิบนั่นเอง
อุบลราชธานี จึงเป็นเมืองที่มีเขตการปกครองอย่างกว้างขวางที่สุด ทางด้านตะวันออกของภาคอีสานตอนล่างครอบคลุมที่ราบและแม่น้ำสายสำคัญของภาค อีสานถึง 3 สายด้วยกัน คือ แม่น้ำชี แม่น้ำมูล และแม่น้ำโขง อีกทั้งยังมีแม่น้ำสายเล็กๆที่มีกำเนิดจากเทือกเขาในพื้นที่ เช่น ลำเซบก ลำเซบาย ลำโดมใหญ่ เป็นต้น นางอุบล วังเจริญไพศาล นายยกเทศมลตรี
แม่น้ำทั้งหลายเหล่านี้ไหลผ่านที่ราบทางด้านเหนือและทางด้านใต้ทอด เป็นแนวยาวสู่ปากแม่น่ำมูลและแม่น้ำโขง ยังความอุดมสมบูรณ์ให้แก่พื้นที่ในบริเวณแถบนี้ทั้งหมด ทำให้เกิดสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การดำรงชีวิตของมนุษย์และสัตว์มาแต่ โบราณกาล [3]
ในปี พ.ศ. 2476 ได้มีการยกเลิกมณฑลทั้งประเทศ จังหวัดอุบลราชธานีซึ่งแยกออกมาจากมณฑลนครราชสีมาในขณะนั้น ได้กลายเป็นจังหวัดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย หลังจากนั้นจังหวัดอุบลราชธานีก็ได้ถูกแบ่งออก โดยอำเภอยโสธรและอำเภอใกล้เคียงเป็นจังหวัดยโสธร ในปี พ.ศ. 2515 และต่อมาปี 2536 ได้ถูกแบ่งอีกครั้ง โดยอำเภออำนาจเจริญและอำเภอใกล้เคียงเป็นจังหวัดอำนาจเจริญ ปัจจุบันจังหวัดอุบลราชธานีมีพื้นที่เป็นอันดับ 5 ของไทย และมีประชากรลำดับที่ 3 ของประเทศ
จังหวัดอุบลราชธานีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 25 อำเภอ 219 ตำบล 2469 หมู่บ้าน ได้แก่
1. อำเภอเมืองอุบลราชธานี
2. อำเภอศรีเมืองใหม่
3. อำเภอโขงเจียม
4. อำเภอเขื่องใน
5. อำเภอเขมราฐ
7. อำเภอเดชอุดม
8. อำเภอนาจะหลวย
9. อำเภอน้ำยืน
10. อำเภอบุณฑริก
11. อำเภอตระการพืชผล
12. อำเภอกุดข้าวปุ้น
14. อำเภอม่วงสามสิบ
15. อำเภอวารินชำราบ
19. อำเภอพิบูลมังสาหาร
20. อำเภอตาลสุม
21. อำเภอโพธิ์ไทร
22. อำเภอสำโรง
24. อำเภอดอนมดแดง
25. อำเภอสิรินธร
26. อำเภอทุ่งศรีอุดม
29. อำเภอนาเยีย
30. อำเภอนาตาล
31. อำเภอเหล่าเสือโก้ก
32. อำเภอสว่างวีระวงศ์
33. อำเภอน้ำขุ่น
จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคกลาง
จดทะเบียนท่องเที่ยวนครสวรรค์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุทัยธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวอ่างทอง : จดทะเบียนท่องเที่ยวสระบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุพรรณบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุโขทัย : จดทะเบียนท่องเที่ยวสิงห์บุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรสาคร : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรสงคราม : จดทะเบียนท่องเที่ยวสมุทรปราการ : จดทะเบียนท่องเที่ยวลพบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวเพชรบูรณ์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวพิษณุโลก : จดทะเบียนท่องเที่ยวพิจิตร : จดทะเบียนท่องเที่ยวพระนครศรีอยุธยา : จดทะเบียนท่องเที่ยวปทุมธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนนทบุรี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครปฐม : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครนายก : จดทะเบียนท่องเที่ยวชัยนาท : จดทะเบียนท่องเที่ยวกำแพงเพชร
จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคใต้
จดทะเบียนท่องเที่ยวยะลา : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุราษฎร์ธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวสงขลา : จดทะเบียนท่องเที่ยวสตูล : จดทะเบียนท่องเที่ยวระนอง : จดทะเบียนท่องเที่ยวภูเก็ต : จดทะเบียนท่องเที่ยวพัทลุง : จดทะเบียนท่องเที่ยวพังงา : จดทะเบียนท่องเที่ยวปัตตานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวนราธิวาส : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครศรีธรรมราช : จดทะเบียนท่องเที่ยวตรัง : จดทะเบียนท่องเที่ยวชุมพร : จดทะเบียนท่องเที่ยวกระบี่
จดทะเบียนท่องเที่ยวภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จดทะเบียนท่องเที่ยวอำนาจเจริญ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุบลราชธานี : จดทะเบียนท่องเที่ยวหนองบัวลำภู : จดทะเบียนท่องเที่ยวหนองคาย : จดทะเบียนท่องเที่ยวศรีสะเกษ : จดทะเบียนท่องเที่ยวสุรินทร์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวสกลนคร : จดทะเบียนท่องเที่ยวเลย : จดทะเบียนท่องเที่ยวร้อยเอ็ด : จดทะเบียนท่องเที่ยวยโสธร : จดทะเบียนท่องเที่ยวมุกดาหาร : จดทะเบียนท่องเที่ยวมหาสารคาม : จดทะเบียนท่องเที่ยวบุรีรัมย์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวบึงกาฬ : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครราชสีมา : จดทะเบียนท่องเที่ยวนครพนม : จดทะเบียนท่องเที่ยวชัยภูมิ : จดทะเบียนท่องเที่ยวขอนแก่น : จดทะเบียนท่องเที่ยวกาฬสินธุ์ : จดทะเบียนท่องเที่ยวอุดรธานี
จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยว 50 เขต ในกรุงเทพฯ
จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางบอน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวทุ่งครุ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวทวีวัฒนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองสามวา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยววังทองหลาง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสะพานสูง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคันนายาว : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสายไหม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหลักสี่ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางแค : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยววัฒนา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวลาดพร้าว : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวราชเทวี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดอนเมือง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวจอมทอง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสวนหลวง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองเตย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวประเวศ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางคอแหลม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวจตุจักร : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางซื่อ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสาทร : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบึงกุ่ม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดินแดง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางพลัด : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวราษฎร์บูรณะ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหนองแขม : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวภาษีเจริญ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางขุนเทียน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกอกน้อย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวตลิ่งชัน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวคลองสาน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวห้วยขวาง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกอกใหญ่ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวธนบุรี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพญาไท : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวสัมพันธวงศ์ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวยานนาวา : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวลาดกระบัง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวมีนบุรี : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพระโขนง : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวป้อมปราบศัตรูพ่าย : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวปทุมวัน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางกะปิ : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางเขน : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวบางรัก : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวหนองจอก : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวดุสิต : จดทะเบียนบริษัทท่องเที่ยวพระนคร